Toggle navigation
หน้าแรก
ศาสนา
ฟัตวา
ความเคลื่อนไหว
บริการสังคม
ติดต่อเรา
เศรษฐศาสตร์
หน้าที่ด้านเศรษฐกิจของรัฐในอิสลาม
หน้าที่ของรัฐอิสลามตามหลักนิติศาสตร์ คือ การรักษาความมั่นคงและความปลอดภัยและสร้างเสถียรภาพภายในรัฐ และปกป้องอธิปไตยของรัฐจากการรุกรานของศัตรู
ทาสในอิสลาม
อิสลามได้เปิดช่องทางการเข้าร่วมปลดปล่อยทาสโดยการปฏิบัติการจ่ายซะกาตให้เป็นช่องทางที่ดีเลิศในการปลดปล่อยทาส
การกระจายรายได้ในอิสลาม
อิสลามได้เรียกร้องให้มีการยกเลิกระบบทาสแบบถอนรากถอนโคนจากมนุษยชาติ ซึ่งเป็นระบบที่บรรพบุรุษของมนุษย์ได้วางกฎเกณฑ์ไว้
อิสลามกับการยกเลิกระบบดอกเบี้ยต่อเงินทุน
ระบอบเศรษฐศาสตร์อิสลามได้พยายามสร้างชีวิตและวิญญาณของระบบเศรษฐกิจที่วางอยู่บนบรรทัดฐานของการเคารพในเกียรติยศของมนุษย์
เงินตราในอิสลาม
รัฐอิสลามมีความหวงแหนและให้ความสำคัญอย่างมากต่อการรักษาเสถียรภาพและคุณภาพของเงินตรา
วิสัยทัศน์ของอิสลามต่อการค้าและความเป็นธรรมของราคา
การแสวงหารายได้ด้วยวิธีกักตุนสินค้า และการกักเก็บทุกประเภท
ถือเป็นการกระทำที่ผิดบัญญัติอิสลามและเป็นการกระทำที่อิสลามไม่อนุมัติ
กลไกการผลิตในอิสลาม
จะเห็นได้ว่า อิสลามได้เรียกร้องมนุษย์ให้มีการทำงาน มีการพากเพียร ทำการผลิตและมีความมุ่งมั่นเพื่อให้เกิดกิจกรรมที่ก่อให้เกิดรายได้ที่เป็นรูปธรรม
ดอกเบี้ยกับซะกาต
ใครมีเงินฝากในธนาคาร
10 ล้านบาท
ในขณะที่อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
8 %
ภายในหนึ่งปีจะมีรายได้จากดอกเบี้ย
800,000 บาท
โดยไม่ต้องทำงาน
การค้าและการธนาคารในอิสลาม
นักเศรษฐศาสตร์มุสลิมพยายามที่จะก่อตั้งสถาบันการเงินที่ปลอดจากระบบดอกเบี้ย ด้วยการระดมเอาแนวทางของอิสลามมาจัดให้เป็นระบบและสามารถดำเนินการได้จริง
การบริโภคนิยม
สังคมมุสลิมในหลาย ๆ แห่งยังคงขาดความมีสมดุลดังกล่าวคือ มีแต่คำสอนที่สมบูรณ์แต่อาจมีปัญหาที่จะผลักดันแนวความคิดไปสู่การปฏิบัติ
การเงินอิสลามในตะวันออกกลาง
สถาบันการเงินและธนาคารอิสลามอาศัยนโยบายกำกับบริหารดูแลอย่างรัดกุม และเข้าใจถึงกลไกเศรษฐกิจโลกภายใต้กฎหมายชะรีอะฮฺ
ตลาดหุ้นชะรีอะฮฺ
บอร์ดชะรีอะฮฺจะทำหน้าที่กับกำการดำเนินงานของตลาดหุ้นให้สอดคล้องกับมติคำวินิจฉัยของสถาบันนิติศาสตร์อิสลาม
ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจไทยกับกลุ่มประเทศ GCC
หลังจากมีรายได้เป็นกอบเป็นกำจากการค้าน้ำมันและการลงทุนในสหรัฐและกลุ่มยุโรป ทุนอาหรับขยับขยายเป้าหมายการลงทุนมาทางเอเชีย
ถึงเวลาที่โลกต้องจารึก
พฤติกรรมนักธุรกิจและนักลงทุนในตลาดส่วนใหญ่ไม่ได้ตั้งอยู่บนความมีเหตุมีผล แต่ตั้งอยู่บน
“ความโลภและความกลัว”
การบริหารจัดการงานของอุมมะฮ์(ประชาชาติ)
หลังอพยพมาสู่นครมาดีนะฮ์ท่านได้นำกฎหมายอิสลามมาใช้จนถูกเรียกว่า
กิยามอัดเดาละฮฺ
(การสถาปณารัฐอิสลาม)
วิกฤติดูไบเวิล์ด
ดูไบมีประชากรท้องถิ่นเพียง 200,000 คน ดูไบเป็นรัฐที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 ของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
ความเป็นมาของดอกเบี้ย
แน่นอน"ชาวยิว"คือผู้อยู่เบื้องหลังการกระจายระบบดอกเบี้ยไปทั่วโลก
และผู้ที่ทำธุรกิจโดยใช้ระบบดอกเบี้ยก็คือส่วนหนึ่งจากผู้ที่รับใช้ยิว
ตลาดหลักทรัพย์ในทัศนะอิสลาม
นักนิติศาสตร์อิสลามและนักกฎหมายอิสลาม ได้อธิบายหลักการดำเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินและการลงทุน
การบริจาคเพื่อสาธารณะกุศล
การวะกัฟที่ประเสริฐที่สุดคือสิ่งผลประโยชน์ของมันครอบคลุมบรรดาคนมุสลิมในทุกยุคทุกสมัยและสถานที่
ระบบเศรษฐกิจ กับ อิสลาม
อิสลามไม่ยอมรับให้มีชนชั้นมหาเศรษฐีที่มีทรัพย์สินอย่างล้นฟ้า แต่ในขณะเดียวกันยังมียาจกที่ไม่มีที่ซุกหัวนอนในสังคมเดียวกัน
ไม้นั่งร้าน
ถ้าหากว่าผู้บริหารมีความสามารถจัดการ มีความรับผิดชอบจะทำให้องค์กรนี้มีความเจริญก้าวหน้า อย่างมีประสิทธิภาพ
การซื้อขาย
พึงสังวรเถิดว่า กษัตริย์ทุกคนจะมีเขตหวงห้ามของพระองค์ และเขตหวงห้ามของอัลลอฮฺก็คือสิ่งหะหอมต่างๆที่พระองค์ทรงห้าม
ตลาดหลักทรัพย์ ตามทัศนะอิสลาม
การทำสัญญาซื้อขายพันธบัตร คือ สิ่งที่ขัดกับหลักกฎหมายอิสลามเพราะเกี่ยวข้องกับระบบดอกเบี้ย
การซื้อขายที่ต้องห้าม
อิสลามได้ห้ามการซื้อขายบางประเภทที่ไม่โปร่งใส ไม่ชัดเจนและเสี่ยงต่อความเสียหาย หรือทำให้เกิดความอาฆาตแค้น หรือทุจริตและโกหก
อัล-ก็อรฎ์ (การกู้ยืม)
ผู้ใดที่ทำให้มุอ์มินท่านหนึ่งพ้นจากความยากลำบากหนึ่งในโลกนี้ อัลลอฮฺจะช่วยให้เขาพ้นความลำบากหนึ่งในวันกิยามะฮฺ
1
2
3
4