Toggle navigation
หน้าแรก
ศาสนา
ฟัตวา
ความเคลื่อนไหว
บริการสังคม
ติดต่อเรา
ซะกาตวาญิบ
ซะกาต เสาหลักที่ 3 ของอัลอิสลาม
ผลของการไม่จ่ายซะกาต
การออกซะกาตในทรัพย์สินที่ได้รับมาใหม่
ซะกาต ฟิฏรฺ
มารยาทของการบริจาคทาน (ศอดาเกาะฮฺ)
ความประเสริฐของการบริจาค
ฮุกุมการจ่ายซากาต
ารจ่ายซากาตเป็นหนึ่งรุกุนอิสลามห้าประการ
และถือว่าเป็นข้อบังคับ
กฎเกณฑ์ในการจ่ายซากาตแก่ผู้ทำชั่ว(ฝ่าฝืนต่ออัลลอฮฺ)
ประโยชน์ของซะกาตต่อสังคมและเศรษฐกิจ
ซะกาตเป็นความเอื้อาทรต่อคนยากจนและเป็นการสร้างประโยชน์ต่อสังคม
มารยาทการบริจาคซะกาต
อิสลามต้องการต่อสู้กับความยากจน ให้คนร่ำรวยมีทรัพย์สินเกินการใช้จ่าย ต้องเจือจุนแก่คนยากจน กล่าวคือ คนรวยต้องเป็นผู้ให้ด้วยถึงจะรวยแบบอิสลาม
ซะกาต ทำให้คนรวยมีโอกาสตกนรกมากกว่าคนจน
แต่สำหรับมุสลิม(ผู้กล่าวปฏิญาณตนแล้ว) รุก่นอิสลาม คือการได้รับโอกาสหรือความเป็นไปได้ที่มุสลิมคนใดคนหนึ่งเลือกได้ว่า ต้องการสวรรค์หรือนรกเป็นการตอบแทน
กองทุนซะกาตช่วยแก้ไขปัญหาสังคมมุสลิม
พ่อแม่ที่ขอทานเป็นอาชีพอยู่แล้ว ก็มักจะฝึกฝนให้ลูกๆ หัดขอกันตั้งแต่เล็กๆ จนกลายเป็นประกอบอาชีพขอทานกันทั้งครอบครัว
ผลลัพท์จากการไม่จ่ายซะกาต
ช่างเป็นบทบัญญัติที่ยิ่งใหญ่!!...และช่างเป็นสัญลักษณ์ที่โดดเด่น !!...และจึงกลายเป็นผลลัพท์อันรุนแรงต่อผู้ปฏิเสธและละเลยต่อมัน
ซะกาต ความสำคัญอันดับที่สาม(วาญิบ)
จงจ่ายซะกาตจากทรัพย์สินที่ดีงามของท่าน และแข่งขันกันในการบริจาค แท้จริงแล้วการจ่ายซะกาตนั้นคือสิ่งยืนยันถึงการศรัทธา
ซะกาต ฐานการจัดระบบเศรษฐกิจอิสลาม
ระบบเศรษฐกิจเป็นภาคปฏิบัติการที่จำเป็นสำหรับการดำรงอัตลักษณ์หนึ่ง ๆ เพราะการดำรงอยู่ของมนุษย์ไม่อาจหลีกเลี่ยงการบริโภคทรัพยากรที่มีอยู่ในธรรมชาติ
ซะกาตฟิฏรฺ (ฟิฏเราะฮฺ)
โดย 1 ศออฺ มีปริมาณเท่ากับ 2.76 กิโลกรัมโดยเฉลี่ย และไม่อนุมัติให้จ่ายเป็นค่าเงินแทนซะกาตฟิฏรฺ
ซะกาตฟิฎเราะฮฺ
“...ดังนั้นพึงบอกให้พวกเขาทราบเถิดว่า แท้จริงอัลลอฮฺได้ทรงกำหนดให้พวกเขาบริจาคประเภทหนึ่ง ซึ่งรับมาจากบรรดาผู้ร่ำรวยของพวกเขา เพื่อแจกจ่ายในระหว่างบรรดาคนยากจนของพวกเขา”
บุคคลที่ละศีลอดในเดือนรอมาฏอนต้องจ่ายซากาตุลฟิตรฺหรือไม่ ?
บรรดานักวิชาการส่วนมากจากอิหม่ามทั้งสี่ ได้มีทัศนะว่า การจ่ายซากาตุลฟิตรฺนั้นจำเป็นแก่มุสลิม ถึงแม้ว่าเขาจะไม่ถือศีลอดในเดือนรอมาฏอน
การบริจาคทาน
สำหรับผู้ที่มีความจำเป็นให้ปัจจัยยังชีพแก่ผู้ที่อยู่ภายใต้การคุ้มครอง โดยหากบริจาคจะทำให้เกิดความขัดสน ดังนั้น จึงไม่อนุญาตสำหรับบุคคลดังกล่าวให้ทำศอดาเกาะฮฺ
ความประเสริฐของการจ่ายซะกาต
“ฉันขอสาบานต่ออัลลอฮฺผู้ที่ชีวิตของฉันอยู่ในพระหัตถ์ของพระองค์ ฉันจะไม่ปฏิบัติเพิ่มเติมจากที่ท่านกล่าวมาข้างต้น”
สรุปรายงานวิชาการกองทุนซะกาต
ปัญหาสังคมส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากปัญหาความยากจน หนี้สิน ไม่ได้รับอิสรภาพในชีวิต การศรัทธาไม่เข้มแข็ง ขาดคุณธรรม
การจ่ายหรือออกซะกาต
ใครที่ไม่ยอมจ่ายซะกาตโดยปฏิเสธการวาญิบของมัน
ในขณะที่รู้บัญญัติถือว่าเขาเป็นกาฟิร
แนวทางการจัดระบบซะกาตอิสลาม
ซะกาตเป็นบทบัญญัติทางศาสนาที่มีหลายภาคส่วนเกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นทรัพย์สิน บุคคล หรือองค์กร
แนวทางการจัดระบบซะกาตในสมัยคอลีฟะฮ์ทั้ง 4
ระบบซะกาต ของคอลีฟะฮ์ ทั้ง 4
แนวทางการจัดระบบซะกาต ตอนที่ 3
แนวทางการจัดระบบซะกาตสมัยต่อๆมา
1
2