Toggle navigation
หน้าแรก
ศาสนา
ฟัตวา
ความเคลื่อนไหว
บริการสังคม
ติดต่อเรา
อัลฮะดิษ
อิบาดะฮฺในสิบคืนสุดท้ายของเราะมะฎอน
ความประเสริฐของสิบวันสุดท้ายของเดือนเราะมะฎอน ซึ่งจะเกิดค่ำคืนลัยละตุลก็อดรฺในค่ำคืนใดค่ำคืนหนึ่ง
คุณค่าของการทำอิบาดะฮฺในคืนลัยละตุลก็อดรฺ
เหตุที่ตั้งชื่อว่าเป็นคืน อัล-ก็อดรฺ เพราะว่าในคืนนั้นบรรดามะลาอิกะฮฺจะเขียนเกาะดัรฺ ต่างๆ ไม่ว่าสิ่งที่เกี่ยวกับริสกี รวมถึงอะญัล ของมวลมนุษย์ในปีนั้นๆ
ดุอาอ์เมื่อละศีลอด
หะดีษบทนี้ถือว่าเป็นหะดีษที่เศาะฮีหฺที่สุดจากท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ที่เกี่ยวกับการขอดุอาอ์ขณะละศีลอด
ดุอาอ์ของผู้ถือศีลอดไม่ถูกผลักไส
ความประเสริฐของผู้ที่ให้อาหารละศีลอดแก่ผู้ถือศีลอด เขาจะได้รับผลบุญอย่างเต็มเปี่ยม เหมือนคนที่ถือศีลอด โดยที่ผลบุญดังกล่าวจะไม่ลดไปจากผู้ถือศีลอดที่เขาเลี้ยงอาหารนั้นแม้แต่น้อย
ความบริสุทธิ์ใจและการตั้งเจตนา
ใครก็ตามที่หันเหไปยังเป้าหมายอื่นนอกจากพระองค์ หรือตั้งภาคีกับพระองค์แล้ว การงานนั้นจะถูกปฏิเสธ และนั้นเป็นการขาดทุนที่ใหญ่หลวง
ความช่วยเหลือของอัลกุรอานและการถือศีลอด
อัลลอฮฺทรงอำนาจในการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่นอกเหนือกฎธรรมชาติ เช่น การที่พระองค์ทำให้การถือศีลอดและอัลกุรอานสามารถพูดกับพระองค์ได้
ส่งเสริมให้เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในเดือนเราะมะฎอน
“อัล-ญูด” หรือความเอื้อเฟื้อในความหมายตามบทบัญญัติอิสลาม คือ การให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เหมาะสมแก่คนที่มีสิทธิในสิ่งนั้น
การละหมาดตะรอวีหฺ
พอถึงคืนที่สี่มัสญิดก็เต็มจนไม่สามารถจุผู้คนที่มีจำนวนเยอะได้ ท่านรอซูลไม่ได้ออกมาในคืนนี้ ผู้ชายบางคนจึงได้กล่าวว่า “อัศ-ศอลาฮฺ(มาละหมาดกันเถิด)”
ละศีลอดด้วยผลอินทผลัม
วิทยปัญญาในการส่งเสริมให้มีการละศีลอดด้วยลูกอินทผลัมนั้น เนื่องจากความหวานของมันสามารถทำให้เกิดพละกำลัง
ให้รีบละศีลอดทันทีเมื่อถึงเวลา
ฝึกฝนให้มุสลิมมีความเคยชินกับระเบียบและการตรงต่อเวลาในการประกอบอิบาดะฮฺ
ส่งเสริมให้ทาน สะหูรฺ ในช่วงท้ายสุดของกลางคืน
คำว่า “นานเพียงใดระหว่างการอะซานและอาหารสะหูรฺ” คือ
การอ่านอัลกุรอานประมาณ 50 อายะฮฺ (อ่านอย่างปกติ) ไม่ช้าหรือเร็วเกินไป
ความประเสริฐของการทาน สะหูรฺ
ดังนั้นเข้าใจว่าผู้ที่ไม่ได้รับประทานอาหารสะหูรฺจะไม่ได้รับความโปรดปรานจากอัลลอฮฺและการวิงวอนจากบรรดามะลาอิกะฮฺในเวลานั้น
ภัยจากการพูดปดขณะถือศีลอด
การถือศีลอดของเขาจะไม่มีความหมายหรือผลตอบแทนใดๆ จากอัลลอฮฺ ตราบใดที่เขาไม่ละทิ้งการพูดเท็จในขณะที่ถือศีลอด
รักษามารยาทในการถือศีลอด
ผู้ที่ละหมาดกลางคืน แต่ปฏิบัติไปด้วยความโอ้อวด หรือด้วยจุดประสงค์อื่นที่ไม่ใช่เพราะความศรัทธาและหวังความโปรดปราน เขาก็ย่อมไม่ได้รับผลดีใดๆ
ประตูสวรรค์ อัร-ร็อยยาน สำหรับผู้ถือศีลอด
“อัล-ร็อยย์”
หมายถึง การรดน้ำหรือการทำให้หายไปจากความกระหาย จึงเป็นสิ่งที่สมควรสำหรับผู้ที่ถือศีลอด
กลิ่นปากของผู้ถือศีลอด
สำหรับมะลาอิกะฮฺแล้วกลิ่นของผู้ที่ถือศีลอดนั้นจะมีกลิ่นหอมยิ่งกว่ากลิ่นชะมดเชียง แม้ว่าสำหรับคนเราแล้วจะมีกลิ่นที่ตรงกันข้ามก็ตาม
ความเบิกบานใจของผู้ถือศีลอด
ความสุขขณะที่พบกับอัลลอฮฺ เนื่องจากเขาสามารถมองเห็นการตอบแทนจากพระองค์ และรำลึกถึงนิอฺมัตของอัลลอฮฺ
ผลตอบแทนของการถือศีลอดเป็นสิทธิของอัลลอฮฺ
พระองค์จะทรงเพิ่มพูนผลตอบแทนการถือศีลอดให้เท่าทวีด้วยความเมตตาของพระองค์ตามแต่ที่ทรงประสงค์โดยไม่มีกำหนดตายตัว
การถือศีลอดเป็นโล่ป้องกัน
การถือศีลอดนั้นสามารถปกป้องจากการหลอกลวงของอารมณ์ใฝ่ต่ำ เพราะว่านรกนั้นจะถูกล้อมรอบด้วยอารมณ์ใฝ่ต่ำนั่นเอง
การอภัยโทษสำหรับผู้ถือศีลอด
การที่เขาถือศีลอดอันเนื่องจากหวังเพื่อได้รับผลบุญที่เกิดจากจิตใจที่บริสุทธิ์และยินยอม ขณะเดียวกันเขาจะไม่มีความรู้สึกหนักใจในการถือศีลอดและไม่รู้สึกว่าเวลาในการถือศีลอดนั้นนานเกินไป
ปลอดภัยจากไฟนรก
ถึงแม้ว่าเวลาเพียงวันเดียวนั้นจะน้อยนิด แต่เมื่อเอาไปใช้ประโยชน์ให้แก่ตนเองและเพื่ออัลลอฮฺแล้ว มันช่างมีราคาที่แพงเหลือเกิน
การถือศีลอดทำให้อารมณ์ใคร่ลดลง
เพราะความระส่ำระสายที่สังคมปัจจุบันกำลังเผชิญอยู่ในทุกวันนี้ เนื่องจากคนหนุ่มสาวจำนวนมากกำลังตกอยู่ในสภาวะที่หะรอม
เป็นไทจากการลงโทษในขุมนรก
เหตุการณ์ต่างๆ ที่กล่าวในหะดีษนั้นเป็นสัญญาณบอกให้บรรดามะลาอิกะฮฺรับรู้ว่าเดือนเราะมะฎอนกำลังเยือนมา
การถือศีลอดเราะมะฎอนเป็นศาสนกิจภาคบังคับ
บรรดาอุละมาอ์มีทัศนะที่สอดคล้องกันว่าการถือศีลอดในวันอาชูรออ์นั้น (คือวันที่ 10 ของเดือนมุหัรร็อม) ปัจจุบันถือว่าเป็นสุนัตมิใช่วาญิบ
ประตูสวรรค์เปิด ประตูนรกปิด
การเยือนมาของเดือนเราะมะฎอนนั้นเป็นสัญญาณแห่งความดีงามแก่ผู้ที่มีความศรัทธา
..
5
6
7
8
9
..